Portfolio courses for children to experience science first semester academic 2013
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่5 วันที่15/7/2556
-
อาจารย์ให้คนที่ยังไม่ได้นำเสนอของเล่นอาทิตยืที่แล้วให้คนที่เหลือไม่ได้นำเสนออาทิตย์ที่แล้วมานำเสนอของเล่นในอาทิตย์นี้
** งาน
-
ทำสิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์และการทดลองวิทยาศาสตร์
เขียนพรีเซ๊นต์อาทิตย์หน้า ( สื่อเข้ามุมต้องใช้เศษวัสดุประดิษฐ์ได้จริง)
-
**
อาทตย์หน้าอาจารย์จะให้ลงสนามเพื่อทดลองและเล่นของเล่นของแต่ละคน
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่4 วันที่8/7/2556
ทฤษฎีว่าด้วยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision)
หลักการที่อธิบายถึงการมองภาพต่อเนื่องของสายตามนุษย์ หรือทฤษฎีการเห็นภาพติดตา คิดค้น ขึ้นในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) โดยนักทฤษฎีและแพทย์ชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Ayrton Paris ทฤษฎี ดังกล่าวอธิบายถึงการมองเห็นภาพต่อเนื่องของสายตามนุษย์ไว้ว่า ธรรมชาติของสายตามนุษย์ เมื่อมองเห็นภาพใดภาพหนึ่ง หลังจากภาพนั้นหายไป สายตามนุษย์จะยังค้างภาพนั้นไว้ที่เรติน่าในชั่วขณะหนึ่ง ประมาณ 1/15 วินาที และหากในระยะเวลาดังกล่าวมีภาพใหม่ปรากฏขึ้นมาแทนที่สมองของมนุษย์จะเชื่อม โยงสองภาพเข้าด้วยกัน และหากมีภาพต่อไปปรากฏขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน ก็จะเชื่อมโยงภาพไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าชุดภาพนิ่งที่แต่ภาพนั้นมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยหรือเป็นภาพที่มี ลักษณะขยับเคลื่อนไหวต่อเนื่องกันอยู่แล้ว เมื่อนำมาเคลื่อนที่ผ่านตาเราอย่างต่อเนื่องในระยะเวลากระชั้นชิด เราจะสามารถเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้
อย่างไรก็ตาม มีเคล็ดลับประการหนึ่ง ก็คือ ก่อนที่จะเปลี่ยนภาพใหม่จะต้องมีอะไรมาบังตาเราแว่บหนึ่ง แล้วค่อยเปิดให้เห็นภาพใหม่มาแทนที่ตำแหน่งเดิม โดยอุปกรณ์ที่บังตาคือซัตเตอร์ (Shutter) และระยะเวลาที่ซัตเตอร์บังตาจะต้องน้อยกว่าเวลาที่ฉายภาพค้างไว้ให้ดู มิฉะนั้นจะมองเห็นภาพกระพริบไป ดังนั้น เมื่อเอาภาพนิ่งที่ถ่ายมาอย่างต่อเนื่องหลาย ๆ ภาพมาเรียงต่อกัน แล้วฉายภาพนั้นในเวลาสั้น ๆ ภาพนิ่งเหล่านั้นจะดูเหมือนว่าเคลื่อนไหว หลักการนี้จึงถูกนำมาใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตร์ในระยะเวลาต่อมา
วีดีโอ อากาศมหัศจรรย์
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่3 1/7/2556
-
อาจารย์
สอบถามงานที่ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มกลับไปปรับเปลี่ยนให้ถูกต้อง
-
อาจารย์อธิบายเรื่องงานสัปดาห์ที่แล้ว
เรื่องความแตกต่าง การคิด วิธีการทำ การหาข้อเปรียบเทียบ ความเหมือน ความต่าง
จะต้องมีเกณฑ์ในการแยกและคิดหาข้อแตกต่างมาเพื่อการนำเสนอ
**
ท้ายชั่วโมง ดูvdo เรื่องความของแสง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)